Risk Management
1.
ประวัติความเป็นมา
การบริหารความเสี่ยงในการบริหารธุรกิจ
มีรากฐานย้อนหลังไปตั้งแต่ศตวรรษที่ 17-18 ในกิจการการพนัน การประกันภัย และธุรกิจธนาคาร แนวคิดทฤษฎีที่พัฒนาขึ้นคือทฤษฎีความน่าจะเป็นและทฤษฎีเกมส์
เช่น ซื้อประกันภัย ทำสัญาล่วงหน้า
และต่อมาได้ขยามเป็นการบริหารความเสี่ยงด้านการดำเนินงาน (Opertional Risk
Management) การบริหารความเสี่ยงทางธุรกิจ (Business Risk
Management) ซึ่งเป็นการบริหารความเสี่ยงในระดับธุรกิจ แยกกันทำเป็นส่วนๆ
ของธุรกิจ เป็นการบริหารความเสี่ยงเชิงรับ คือรอให้เกิดปัญหาแล้วค่อยแก้ไข
ซึ่งไม่ทันต่อการบริหารุรกิจยุคความเสี่ยง
ในปัจจุบันได้วิวัฒนาการมาเป็นการบริหารความเสี่ยงเชิงรุก (Proactive
) และเป็นการบริหารระดับกลยุทธ์และทั่วทั้งองค์กร
ที่ทุกฝ่ายและทุกระดบต้องมีบทบาทหน้าที่และวิธีการบริหารความเสี่ยง เพื่อเพิ่มความสำเร็จ
การเพิ่มมูลค่า และประต่อทั้งองค์กร
2.
องค์ประกอบของ Risk Management
3.
เครื่องมือนี้ใช้เพื่ออะไร
เป็นเครื่องมือใหม่ใช้ในการบริหารยุคความเสี่ยง
เพื่อสร้างความมั่นใจในการบริหารความเสี่ยงในยุคการค้าเสรี
ที่มีการแข่งขันและความไม่แน่นอนเนื่องจากการเปลี่ยนแปลงจากสภาพแวดล้อมและเทคโนโยลยีเป็นไปอย่างรวดเร็ว
4.
ข้อดีและข้อเสีย
ข้อดี :
1. สร้างความมั่นใจในความสำเร็จของกลยุทธ์ที่กำหนด
2. สร้างความมั่นใจในการเติบโตระยะยาว3. เป็นการบริหารเชิงรุก
4. เกิดระบบสารสนเทศและการสื่อสารจากทุกระดับภายในองค์กร
5. เป็นเรื่องต้องปฏิบัติและเปิดเผยตามหลักการกำกับดูแลที่ดี
ข้อเสีย
:
1. เป็นการสร้างความเชื่อมั่นในระดับสมเหตุสมผล
(Reasonable
Assurance) เท่านั้น2. สร้างความเชื่อมั่นในความสำเร็จวัตถุประสงค์แต่ละประเภทไม่เท่าเทียมกัน
5.
ขั้นตอนการบริหารความเสี่ยง
1. การกำหนดวัตถุประสงค์ (Objective
Establishment2. การระบุความเสี่ยง (Risk Identification)
3. การประเมินความเสี่ยง (Risk Assessment)
4. การสร้างแผนจัดการ( Risk Management Planning)
5. การติดตามสอบทาน (Monitoring & Review
สินทรัพย์(Financial Markets/Risk Management) ไว้อย่างชัดเจน เนื่องจากธุรกิจการเงินมีความเกี่ยวข้อง
ทางตรงกับการจัดการความเสี่ยงโดยเฉพาะความเสี่ยงด้านเครดิต ด้วยการปรับเครื่องมือบริหารความเสี่ยง
ให้สอดคล้องกับภาวะเศรษฐกิจหรือความต้องการของลูกค้าแต่ละกลุ่ม
แหล่งที่มาข้อมูล :
อุษณา ภัทรมนตรี,2552
http://technopolis.sut.ac.th/2009/index.php?option=com_content&view=article&id=961&Itemid=129)
รวบรวมโดย
นางสาวรุ่งลักษมี รอดขำ
DBA 04 มหาวิทยาลัยศรีปทุม
:
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น